"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
หน่วย : Happy Number 1
ภูมิหลัง : เนื่องจากพี่ๆ ป.6 เรียนเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ครบตั้งแต่เรียนชั้น ป.6 มาสู่ระดับชั้น ป.6 คุณครูจะเข้าสู่ช่วงทบทวนทุกๆ สาระการเรียนรู้ และเตรียมจัดการชุดความรู้ให้กับผู้เรียนในปีสุดท้ายของระดับประถมศึกษาอีกด้วย โดยเริ่มต้นด้วยการเรียนรู้โจทย์ฝึกทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ในช่วงเริ่มต้น ก่อนจะนำสู่แต่ละสาระการเรียนรู้ โดยเริ่มจาก
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 สถิติและความน่าจะเป็น
*ทุกๆ สาระการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ คุณครูจะแทรกสาระที่ 6 เข้าสู่การเรียนรู้ทุกๆ ชั่วโมง
อีกเป้าหมายการเรียนรู้การจัดการชุดความรู้ดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียนรวบรวมองค์ความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดการข้อมูลให้เป็นinformation ก่อนจัดกระทำข้อมูล
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 สถิติและความน่าจะเป็น
*ทุกๆ สาระการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ คุณครูจะแทรกสาระที่ 6 เข้าสู่การเรียนรู้ทุกๆ ชั่วโมง
อีกเป้าหมายการเรียนรู้การจัดการชุดความรู้ดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียนรวบรวมองค์ความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดการข้อมูลให้เป็นinformation ก่อนจัดกระทำข้อมูล
เป้าหมายความเข้าใจ : เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด(เชิงตรระกะ
จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ การคิดเชิงอนาคต) การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
การพิสูจน์ความจริง
สามารถถ่ายทอดทักษะความเข้าใจในการแก้ปัญหาสถานการณ์ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
และเกิดคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างศานติ
ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter 1 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์
ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คำถาม
- นักเรียนมีวิธีการคิดอย่างไร?
จากโจทย์การคิด / มายากล
- นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องเดิมอะไรบ้าง?
ต้องการเรียนรู้เรื่องไหนเพิ่มเติม?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorms
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นเกม / มายากลภาพ
- ซองโจทย์การคิด / เกม
- ใบงานสร้างความเข้าใจคณิตศาสตร์
(Math thinking)
|
- ครูและนักเรียนทำกิจกรรมสร้างสัมพันธ์ร่วมกัน
พาเล่นเกม 24 และเกม 108 IQ
- ครูพานักเรียนทำกิจกรรมเล่นเกมการคิด
/ มายากลคณิตศาสตร์
* ความฉงนของคณิตศาสตร์
“ถ้าจะดูจากภาพนี้ก็คงเห็นชัดขึ้น
แต่ละแถวจะถูกตัดให้สั้นลงแบบขั้นบันได แล้วเอาไปต่อใหม่ จะทำให้ได้แถวเพิ่มขึ้น
1 แถว แต่ความยาวแต่ละแถวก็จะลดลง 1 ช่อง”
- ครูใช้คำถาม
“สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง? เพราะเหตุใด? นักเรียนมีเป้าหมายในการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างไร?”
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับ
สิ่งที่อยากเรียนรู้และเป้าหมายในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
-
ครูและนักเรียนช่วยกันจัดระบบข้อมูล
ตลอดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตลอดระดับประถมศึกษาที่ทุกคนมีความเข้าใจ
นักเรียนเขียนเป้าหมายต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และสิ่งที่มีความรู้อยู่แล้ว / สิ่งที่อยากเพิ่มเติม
เขียนบันทึกความเข้าใจลงในสมุดเล่มเล็ก
-
นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นกิจกรรมมายากลคณิต
-ช่วยหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- สร้างใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด มายากล
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
มีความเข้าใจการเรียนรู้และมีทักษะกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
นำมาปรับใช้ได้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
ความอดทน
-
การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด
|
..........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2 |
โจทย์
- การจัดการข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
-
รวบรวมเนื้อหาจาก O-net ของแต่ละปีที่ผ่านมา มากระทำกระบวนการคิด
คำถาม
- ถ้า ภ+จ= 15 และ
ภ มีค่าเท่ากับ 8 ดังนั้น จ- 2 มีค่าเท่าไร?
- ค่าประมาณใกล้เคียงจำนวนเต็มล้านของระยะทางจากดาวอังคารถึงดวงอาทิตย์ซึ่งห่างกัน
227,940,000 กม.
เป็นเท่าใด?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ข้อมูลจากหนังสือ O-net
-
แผ่นกระดาษชาร์ต /100ปอนด์
|
-
ครูพานักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการจัดการชุดความรู้
นำสิ่งที่ผู้เรียนอยากเรียนรู้มาเรียบเรียงให้ทุกคนเห็นภาพใหญ่ร่วมกัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
และเพิ่ม/ตัด สิ่งที่นำมาพูดคุยร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ข้อสอบ o-net เช่น
ถ้า ภ+จ= 15 และ
ภ มีค่าเท่ากับ 8 ดังนั้น จ- 2 มีค่าเท่าไร?
, ค่าประมาณใกล้เคียงจำนวนเต็มล้านของระยะทางจากดาวอังคารถึงดวงอาทิตย์ซึ่งห่างกัน
227,940,000 กม. เป็นเท่าใด?
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันผ่าน
Backboard share
-
ครูและนักเรียนร่วมจัดระบบข้อมูล / คิดค้นหาวิธีการคิดที่แตกต่าง / สร้างสรรค์
ครูให้โจทย์ใหม่
เช่น หาค่าประมาณใกล้เคียงเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมื่น เต็มแสน
เต็มส่วนสิบ และเต็มส่วนร้อย ของ 137,842.647
- นักเรียนสร้างโจทย์ใหม่ที่ท้าท้าย
และฝึกฝนแลกกับเพื่อนๆ เพื่อนำมาอธิบาย ให้เหตุผล
นักเรียนทำใบงานโจทย์ปัญหาสถานการณ์ประยุกต์
- คุณครูพานักเรียนเล่นกมการคิด / ทดลองวิทยาศาสตร์แทรกความรู้ด้วยคณิต
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ข้อสอบ PISA
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกัน ผ่าน Backboard share
-
ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น
|
ภาระงาน
- นักเรียนช่วยกันคิดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้มาแล้ว
พานักเรียนเล่นกมการคิด
/ ทดลองวิทยาศาสตร์แทรกความรู้ด้วยคณิต
- ร่วมกันออกแบบวิธีคิดจากกิจกรรม
- นำเสนอเหตุผลที่มาของผลเฉลย
ชิ้นงาน
- เขียนสรุปความเข้าใจลงสมุด
- ใบงานชุดฝึกของPISA
- บันทึกความเข้าใจลงสมุด |
ความรู้
- นักเรียนเข้าใจและได้ฝึกคิดโจทย์ปัญหาสถานการณ์ของPISA รวมถึงเนื้อหาพีชคณิตที่เป็นการแก้สมการ และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับใช้ได้
- นักเรียนได้ความเข้าใจการดำเนินการด้วยวิธีที่หลายหลาย
และได้คิดฝึกฝนทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ ด้วยการร่วมแลกเปลี่ยนความเข้าใจต่อครูและเพื่อนๆ
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูปที่ซ่อนอยู่(pattern)
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง และการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ
ป.6/6
|
..........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง
(ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร?
ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ
ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด
Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้
ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยการเล่นเกม (รวมเงิน)
“รวมเงิน รวมเงินวันนี้ ถ้าจะให้ดีอย่าให้มีผิดพลาด
ผู้ชายนั้นเป็นเหรียญบาท
ผู้หญิงเก่งกาจ 50 สตางค์ รวมเงินให้ได้ 4 บาท 50 สตางค์
(ประมาณ 5 รอบ เปลี่ยนจำนวนเงินไปเรื่อยๆ)”
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทางคณิตศาสตร์ (ข้อสอบองสิงค์โปร์)
ไทย-Eng
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด
และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน
ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง
(Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง และการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ
ป.6/6
|
.......................................
.
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- ถ้าจะให้พี่ๆ ปลูกต้นไม้ 10 ต้น ให้ได้ 5 แถว แถวละ 4 ต้น จะทำอย่างไร?
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร? ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นโจทย์แสดงการปลูกต้นไม้
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้ ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทางคณิตศาสตร์ (ข้อสอบองสิงค์โปร์) ไทย-Eng
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเกมการคิด
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสถานการณ์(จำลอง) และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
..........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร?ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
..........................................
..........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร?ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้ ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทางคณิตศาสตร์
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ
นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน
ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
..........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร? ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้ ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทางคณิตศาสตร์
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
......
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร? ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
............
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร? ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้ ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทาง
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมรวมเงิน
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
......
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10-11 |
โจทย์
โจทย์การคิดคณิตขั้นสูง (ไทย / อังกฤษ)
คำถาม
- นักเรียนออกแบบวิธีคิดอย่างไร? ใช้หลักการใดในการให้เหตุผล
- นักเรียนจะนำเสนอต่อเพื่อนๆ ให้เข้าใจโจทย์(Eng) นี้ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นซาร์ตเพลงรวมเงิน
- โจทย์การคิด Eng
|
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์
- นักเรียนระดมความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับโจทย์ที่กำหนดให้ ผ่าน Backboard share
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจลงในสมุดทดคิด
- ครูกระตุ้นด้วยการเล่นเกม (รวมเงิน)
“รวมเงิน รวมเงินวันนี้ ถ้าจะให้ดีอย่าให้มีผิดพลาด ผู้ชายนั้นเป็นเหรียญบาท
ผู้หญิงเก่งกาจ 50 สตางค์ รวมเงินให้ได้ 4 บาท 50 สตางค์ (ประมาณ 5 รอบ เปลี่ยนจำนวนเงินไปเรื่อยๆ)”
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การคิดทางคณิตศาสตร์ (ข้อสอบองสิงค์โปร์) ไทย-Eng
- นักเรียนร่วมกันออกแบบวิธีคิด และร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจ นำเสนอ
- คุณครูช่วยจัดระบบข้อมูลให้ผู้เรียนเข้าใจทุกคน ก่อนให้ซักถามก่อนทำงาน
- ครูให้โจทย์ใหม่ที่ท้าทายยิ่งขึ้น เช่น
|
ภาระงาน
- ร่วมกิจกรรมเติมตัวเลข
- นำเสนอความเข้าใจโจทย์คณิต(Eng)
- นักเรียนทำสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานหลากหลาย
ชิ้นงาน
- สรุปบันทึกการการเรียนรู้ลงสมุด
- สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยวิธีหลากหลาย
- ใบงานโจทย์การคิด(Eng)
|
ความรู้
นักเรียนมีเข้าใจสามารถแก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์(ภาษาEng) รวมทั้งวิเคราะห์พร้อมให้เหตุผลในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และนักเรียนนำมาความรู้มาปรับประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสร้างโมเดลจำลอง
- ทักษะการจำลองภาพในสมอง (Visual)
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผล
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความกระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่าง ๆได้ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, และ ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
..